Frozen shoulder/adhesive capsulitis โรคไหล่ติด
Pathology
สาเหตุของข้อไหล่ติด ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่จากการศึกษาทางพยาธิสรีรวิทยาพบการ มีการอักเสบของเยื่อหุ้มข้อและมีการหนาตัวของเยื่อหุ้มข้อเป็นพังผืดตามมาทําให้เคลื่อนไหวข้อได้น้อยลง พบได้ ประมาณ 2-5% ของประชากร
มักเกิดกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย มักเป็นกับแขนทีไม่ถนัดมากกว่าข้างที่ถนัด และมีโอกาสเป็นทั้งสองข้างได้ประมาณ 20-30% พบได้บ่อยในผู้ทีมีอายุระหว่าง 40 ถึง60 ปีและพบว่าผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน โรคของต่อมธัยรอยด์ และโรคหัวใจ คนที่เคยเป็นเอ็นข้อไหล่อักเสบ คนที่เคยได้รับการผ่าตัดมาก่อน บริเวณ ข้อศอก ข้อไหล่ หรือผ่าตัดเต้านม มีโอกาสเกิดภาวะข้อไหล่ติดได้มากกว่าคนทั่วไป ข้อไหล่ติดเป็นภาวะที่หายได้เอง เเต่อาจใช้เวลานานกว่าถ้าไม่ได้รับการรักษา
อาการ
มี 3 ระยะ ได้แก่ ระยะปวด ระยะข้อติด และระยะฟื้นตัว
-
ระยะปวด ผู้ป่วยจะรู้สึกว่า อาการปวดค่อยๆ เป็นมากขึ้น ปวดเมื่อมีการเคลื่อนไหว ปวดมากตอนกลางคืนจนรบกวนการนอน พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อจะค่อย ๆ ลดลง ระยะนี้มักนาน 2 ถึง 9เดือน
-
ระยะข้อติด อาการปวดจากระยะแรกเริ่มลดลง พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในทุกทิศทาง ลดลงชัดเจน อาจส่งผลต่อกิจวัตรประจําวันอย่างมาก ระยะนี้ ทั่วไปนาน 4-12 เดือน
- ระยะฟื้นตัว อาการปวดจะลดลง พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่จะค่อย ๆ ดีขึ้น ในช่วง 5 เดือน ถึง 2 ปี
http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/admin/article_files/1283_1.pdf
Anatomy
รูปร่างของข้อไหล่มีลักษณะคล้ายกับลูกกอล์ฟที่ตั้งอยู่บนหัวกระดูกต้นแขน (humeral head) ส่วนเบ้า(glenoid) มีลักษณะเป็นแอ่งตื้นๆ ธรรมชาติสร้างให้ข้อไหล่มีความมั่นคงเพิ่มขึ้นด้วยขอบกระดูกอ่อน (glenoidal labrum) ช่วย เพิ่มความลึกของเบ้า และมีเยื่อหุ้มข้อต่อโดยรอบที่แข็งแรง (glenohumeral ligament) คอยยึดไว้ นอกจากรูปร่างของกระดูกหัวไหล่แล้ว กล้ามเนื้อรอบๆ หัวไหล่ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสร้างความมั่นคงของข้อไหล่
Treatment
- Freezing phase
เป้าหมายของการรักษา คือการลดความเจ็บปวด
❖ LDT
❖ nerve mobilization
❖ massage
❖ cold pack
❖ hot pack
❖ Modality เช่น US
❖ gentle shoulder mobilisation exercises within the tolerated range (pendulum exercise, passive supine forward elevation, passive external rotation, and active assisted range of motion in extension, horizontal adduction, and internal rotation) - Frozen phase
เป้าหมายของการรักษา คือเพิ่มพิสัยของการเคลื่อนไหว
❖ LDT
❖ Cold pack/hot pack
❖ Myofascial release
❖ Capsule and joint mobilization
❖ Stretching exercises chest muscles and muscles at the back of the shoulder
❖ strengthening exercises
❖ Isometric exercise
❖ The scapular retraction exercises
❖ Isometric shoulder external rotation - Thawing phase
เป้าหมายของการรักษา คือเพิ่มความเเข็งเเรงของกล้ามเนื้อ
❖ Rotator cuff exercises
❖ Strengthening exercises are important
❖ stretching and strengthening exercises can increase in intensity, with a longer holding duration
Exercise
- Stretching exercise
- Isometric exercise
- Strengthening exercise
- Functional exercise
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5917053/
http://www.orthop.washington.edu/?q=patient-care/articles/shoulder/homeexercises- for-the-stiff-or-frozen-shoulder.html https://orthoinfo.aaos.org/en/diseases–conditions/frozen-shoulder/