Frozen shoulder/adhesive capsulitis โรคไหล่ติด

Pathology

สาเหตุของข้อไหล่ติด ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่จากการศึกษาทางพยาธิสรีรวิทยาพบการ มีการอักเสบของเยื่อหุ้มข้อและมีการหนาตัวของเยื่อหุ้มข้อเป็นพังผืดตามมาทำให้เคลื่อนไหวข้อได้น้อยลง พบได้ ประมาณ 2-5% ของประชากรมักเกิดกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย มักเป็นกับแขนทีไม่ถนัดมากกว่าข้างที่ถนัด และมีโอกาสเป็นทั้ง สองข้างได้ประมาณ 20-30% พบได้บ่อยในผู้ทีมีอายุระหว่าง 40 ถึง60 ปีและพบว่าผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน โรคของต่อมธัยรอยด์ และโรคหัวใจ คนที่เคยเป็นเอ็นข้อไหล่อักเสบ คนที่เคยได้รับการผ่าตัดมาก่อน บริเวณ ข้อศอก ข้อไหล่ หรือผ่าตัดเต้านม มีโอกาสเกิดภาวะข้อไหล่ติดได้มากกว่าคนทั่วไป ข้อไหล่ติดเป็นภาวะที่หายได้เอง เเต่อาจใช้เวลานานกว่าถ้าไม่ได้รับการรักษา

อาการ

มี 3 ระยะ ได้แก่ ระยะปวด ระยะข้อติด และระยะฟื้นตัว

  1. ระยะปวด ผู้ป่วยจะรู้สึกว่า อาการปวดค่อยๆ เป็นมากขึ้น ปวดเมื่อมีการเคลื่อนไหว ปวดมากตอนกลางคืนจนรบกวนการนอน พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อจะค่อย ๆ ลดลง ระยะนี้มักนาน 2 ถึง 9เดือน
  2. ระยะข้อติด อาการปวดจากระยะแรกเริ่มลดลง พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในทุกทิศทางลดลงชัดเจน อาจส่งผลต่อกิจวัตรประจำวันอย่างมาก ระยะนี ทั่วไปนาน 4-12 เดือน
  3. ระยะฟื้นตัว อาการปวดจะลดลง พิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่จะค่อย ๆ ดีขึ้น ในช่วง 5เดือน ถึง 2 ปี

http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/admin/article_files/1283_1.pdf

[siteorigin_widget class=”SiteOrigin_Widget_Image_Widget”][/siteorigin_widget]

Anatomy
รูปร่างของข้อไหล่มีลักษณะคล้ายกับลูกกอล์ฟที่ตั้ง อยู่บนหัวกระดูกต้นแขน (humeral head) ส่วนเบ้า(glenoid) มีลักษณะเป็นแอ่งตื้นๆ ธรรมชาติสร้างให้ข้อไหล่มีความมั่นคงเพิ่มขึ้นด้วยขอบกระดูกอ่อน (glenoidal labrum) ช่วย เพิ่มความลึกของเบ้า และมีเยื่อหุ้มข้อต่อโดยรอบที่แข็งแรง (glenohumeral ligament) คอยยึดไว้ นอกจากรูปร่างของกระดูกหัวไหล่แล้ว กล้ามเนื้อรอบๆ หัวไหล่ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสร้างความมั่นคงของข้อไหล่

[siteorigin_widget class=”SiteOrigin_Widget_Image_Widget”][/siteorigin_widget]

Treatment

1. Freezing phase
เป้าหมายของการรักษา คือการลดความเจ็บปวด
❖ LDT
❖ nerve mobilization
❖ massage
❖ cold pack
❖ hot pack
❖ Modality เช่น US
❖ gentle shoulder mobilisation exercises within the tolerated range (pendulum exercise, passive supine forward elevation, passive external rotation, and active assisted range of motion in extension, horizontal adduction, and internal rotation)

2. Frozen phase
เป้าหมายของการรักษา คือเพิ่มพิสัยของการเคลื่อนไหว
❖ LDT
❖ Cold pack/hot pack
❖ Myofascial release
❖ Capsule and joint mobilization
❖ Stretching exercises chest muscles and muscles at the back of the shoulder
❖ strengthening exercises
❖ Isometric exercise
❖ The scapular retraction exercises
❖ Isometric shoulder external rotation

3. Thawing phase
เป้าหมายของการรักษา คือเพิ่มความเเข็งเเรงของกล้ามเนื้อ
❖ Rotator cuff exercises
❖ Strengthening exercises are important
❖ stretching and strengthening exercises can increase in intensity, with a longer holding duration

Exercise

  1. Stretching exercise
  2. Isometric exercise
  3. Strengthening exercise
  4. Functional exercise

https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5917053/
http://www.orthop.washington.edu/?q=patient-care/articles/shoulder/homeexercises-for-the-stiff-or-frozen-shoulder.html
https://orthoinfo.aaos.org/en/diseases–conditions/frozen-shoulder/